เอสแอลอี SLE โรคพุ่มพวงเป็นอย่างไร
SLE หรือ Systemic Lupus Erythematous หรือ ที่เรียกว่า โรคพุ่มพวง ที่เรียกว่าโรคพุ่มพวงเพราะโรคนี้เป็นสาเหตุให้นักร้องลูกทุ่งดัง พุ่มพวง ดวงจันทร์ ต้องเสียชีวิตไปเมื่อหลายสิบปีก่อน
โรคเอสแอลอี (SLE) เป็นโรคที่เกิดจากภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานผิดปกติโดยแทนที่จะทำหน้าที่ต่อสู้กับสิ่งแปลกปลอมจากภายนอกร่างกายกลับมาต่อต้านหรือทำลายเซลล์ของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายตนเอง จนก่อให้เกิดการอักเสบได้เกือบทุกอวัยวะของร่างกาย อวัยวะที่เกิดการอักเสบได้บ่อย ได้แก่ ผิวหนัง, ข้อ, ไต, ระบบเลือด, ระบบประสาท เป็นต้น
โรคเอสแอลอี SLE จะมีอาการแสดงแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล พบในหญิงมากกว่าชาย และมีความรุนแรงของโรคแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
อาการที่มักพบได้ คือ อาการต่อระบบต่างๆ ดังนี้
- อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
- ระบบผิวหนัง : มีผื่นแดงรูปผีเสื้อบริเวณใบหน้า หรือผื่นบริเวณอื่น
- ระบบเลือด : มีเม็ดเลือดขาวต่ำ ติดเชื้อง่าย
- ระบบข้อ : มีอาการปวดข้อทั่วร่างกาย อาจมีปวดกล้ามเนื้อร่วมด้วย
- ระบบไต : มีอาการบวมตามตัว ความดันโลหิตสูง
- ระบบประสาท : อาจมีอาการชักหรืออาการทางจิตได้
- ระบบปอด : เจ็บหน้าอกเวลาหายใจเข้าเกิดจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
- ระบบทางเดินอาหาร : คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้อง
การรักษา SLE โดยแพทย์แผนปัจจุบันทั่วไป นับว่าเป็นแนวทางที่ได้ผลดี สามารถลดอาการแสดงของโรคได้มากแต่ขณะเดียวกันยาแผนปัจจุบันที่เป็นยาเคมีมักจะทำให้เกิดอาการข้างเคียงมากด้วย
ยาแผนปัจจุบันที่ใช้รักษา SLE ในปัจจุบันนี้ เช่น
- กลุ่มยาต้านการอักเสบที่มใช่สเตียรอยด์ (Nonsteroidal anti-inflammatory drugs) หรือ NSAIDs เป็นยาลดการอักเสบใช้รักษาไข้ ข้ออักเสบ ปวดข้อ ข้อบวม อาจใช้ร่วมกับยาชนิดอื่น ผลข้างเคียงของยาคือ โรคกระเพาะอาหาร ท้องเสีย และบวม
- ยารักษามาลาเรีย มีการนำยารักษามาลาเรียมาใช้รักษา SLE โดยเฉพาะรักษาอาการเพลีย ปวดข้อ ผื่น และปอดอักเสบจาก SLE ได้แก่ยา hydrochloroquine, chloroquine (Aralen), and quinacrine (Atabrine) มีผลข้างเคียง คือ แน่นท้อง ตามัวลง(มีผลต่อการมองเห็น) และ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
- ยากลุ่ม Steroid มีผลข้างเคียงในระยะสั้นได้แก่ ตัวบวม หน้าบวม หากกินยานี้เป็นเวลานานจะเกิดผลข้างเคียงคือ กระดูกพรุน กระดูกบางลง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ต้อกระจก ติดเชื้อได้ง่าย
- ยากดภูมิคุ้มกัน (immunosuppressive) หากไม่สามารถควบคุมโรคได้แพทย์จะใช้ยากลุ่มนี้เพื่อกดภูมิคุ้มกันได้แก่ ยาazathioprine (Imuran) and cyclophosphamide (Cytoxan) ,methotrexate ยากลุ่มนี้มีผลข้างเคียงคือ มีโอกาสติดเชื้อได้มากขึ้น มีพิษต่อตับ มีบุตรยาก มีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งมากขึ้น
การรับประทานยาแผนปัจจุบันแม้จะสามารถควบคุมอาการของโรคได้ในระดับหนึ่งแต่ก็ยังไม่ใช่ วิธีที่ดีที่สุดในการรักษา เพราะทำให้ผู้ป่วยเกิดผลข้างเคียงมาก ซึ่งบางครั้งทำให้เกิดการท้อแท้ต่อการรักษาได้
การดูแลสุขภาพสำหรับผู้ป่วย SLE ควรใช้วิธีผสมผสาน โดยการรักษาทั้งุแพทย์แผนปัจจุบันเพื่อความคุมอาการของโรคและเสริมด้วยการใช้ยาแผนโบราณโดยยาน้ำสมุนไพรฮั้วลักเซียมซึ่งมีส่วนประกอบของสุดยอดสมุนไพร 99 ชนิด เพื่อปรับสมดุลภายในตัวผู้ป่วยและช่วยลดอาการข้างเคียงของยาแผนปัจจุบันและปรับปรุงระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆ ซึ่งในกรณีนี้ ผู้ป่วยได้ดื่มยาน้ำสมุนไพรฮั้วลักเซียมควบคู่กับการรักษาแผนปัจจุบัน ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ สดชื่น ไม่อ่อนเพลีย หน้าตาสดใส ซึ่งหากรับประทานยาน้ำสมุนไพรฮั้วลักเซียมต่อเนื่องไปเรื่อยๆ จะช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และทำให้ผู้ป่วยได้รับยาแผนปัจจุบันน้อยลง และคุณภาพชีวิตผู้ป่วยดีขึ้น นอกจากนั้นแล้วตัวยาสมุนไพรในยาน้ำสมุนไพรฮั้วลักเซียม ยังช่วยปกป้อง บำรุง ฟื้นฟู ตับ ไต และ ระบบเลือด ระบบผิวหนัง ระบบภูมิคุ้มกันให้กลับเข้าสู่ภาวะปกติของร่างกาย
อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยที่เป็นโรค SLE นี้หลังจากที่ทำการรักษา ด้วยวิธีนี้แล้ว หาก อาการดีขึ้น ก็ควรรักษาร่างกายให้คงสภาพแข็งแรงนี้ไว้โดยดื่มยาน้ำสมุนไพรฮั้วลักเซียมเป็นประจำสม่ำเสมอ เพราะหากละเลยนี้การดูแลร่างกายเมื่อร่างกาย อาการ SLE อาจกลับมากำเริบอีกได้ ดูวีดีโอผู้ป่วยเอสแอลอีที่ใช้ยาน้ำสมุนไพรฮั้วลักเซียม